Category Archives: อำเภอเมืองปทุมธานี

อำเภอเมืองปทุมธานี

อำเภอเมืองปทุมธานี  is position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the keyword name in category.

อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นหนึ่งในอำเภอจังหวัดปทุมธานี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

อำเภอเมืองปทุมธานี
แผนที่จังหวัดปทุมธานี เน้นอำเภอเมืองปทุมธานี
พิกัดภูมิศาสตร์: 14°1′11″N 100°32′6″E
อักษรไทย อำเภอเมืองปทุมธานี
อักษรโรมัน Amphoe Mueang Pathum Thani
จังหวัด ปทุมธานี
พื้นที่
 • ทั้งหมด 125.151 ตร.กม. (48.321 ตร.ไมล์)
ประชากร (2562)
 • ทั้งหมด 208,118
 • ความหนาแน่น 1,662.93 คน/ตร.กม. (4,307.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 12000
รหัสภูมิศาสตร์ 1301
ที่อยู่
ที่ว่าการ
ที่ว่าการอำเภอเมืองปทุมธานี ถนนเทศปทุม ตำบลบางปรอก อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เมืองปทุมธานี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี มีประชากรจำนวนกว่า 2 แสน 5 พันคน ประกอบด้วยตำบล 13 ตำบล และเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการของจังหวัดปทุมธานีอีกด้วย อำเภอเมืองปทุมธานีเป็นอำเภอมีความหนาแน่นเฉลี่ยของประชากรสูงถึง 1,421 คนต่อตารางกิโลเมตร และมีความเจริญกระจายตัวอย่างทั่วถึงทั้งอำเภอ ตรงกลางอำเภอมีแม่น้ำเจ้าพระยาผ่ากลางอำเภอ

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

มีอาณาเขตติดต่อดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

  • พ.ศ. ….. ตั้งอำเภอเมืองปทุมธานี
  • วันที่ 29 พฤศจิกายน 2479 จัดตั้งเทศบาลเมืองปทุมธานี ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลบางปรอก[1]
  • วันที่ 2 กันยายน 2490 โอนพื้นที่บางหมู่บ้านของตำบลบางหลวงไปขึ้นกับตำบลบ้านฉาง[2]
  • วันที่ 21 พฤษภาคม 2505 จัดตั้งสุขาภิบาลบางหลวง ในท้องที่บางส่วนของตำบลบ้านฉาง ตำบลบางหลวง ตำบลบางเดื่อ[3]
  • วันที่ 20 มีนาคม 2524 ขยายเขตเทศบาลเมืองปทุมธานีให้ครอบคลุมตำบลบางปรอกทั้งตำบล[4]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลบางหลวงเป็นเทศบาลตำบลบางหลวง
  • วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลบางกะดีเป็นเทศบาลตำบลบางกะดี[5]
  • วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่เป็นเทศบาลตำบลบ้านใหม่[6]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

พื้นที่อำเภอเมืองปทุมธานีแบ่งเขตการปกครองย่อยเป็น 14 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็น หมู่บ้าน รวม 81 หมู่บ้าน ได้แก่

1. บางปรอก (Bang Parok) 8. บางหลวง (Bang Luang) 7 หมู่บ้าน
2. บ้านใหม่ (Ban Mai) 6 หมู่บ้าน 9. บางเดื่อ (Bang Duea) 7 หมู่บ้าน
3. บ้านกลาง (Ban Klang) 5 หมู่บ้าน 10. บางพูด (Bang Phut) 6 หมู่บ้าน
4. บ้านฉาง (Ban Chang) 4 หมู่บ้าน 11. บางพูน (Bang Phun) 6 หมู่บ้าน
5. บ้านกระแชง (Ban Krachaeng) 4 หมู่บ้าน 12. บางกะดี (Bang Kadi) 5 หมู่บ้าน
6. บางขะแยง (Bang Khayaeng) 4 หมู่บ้าน 13. สวนพริกไทย (Suan Phrikthai) 8 หมู่บ้าน
7. บางคูวัด (Bang Khu Wat) 12 หมู่บ้าน 14. หลักหก (Lak Hok) 7 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

อำเภอเมืองปทุมธานีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 แห่ง ได้แก่

การคมนาคม[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ถนนสายหลัก

  1. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 (ถนนกรุงเทพ-ปทุมธานี นนทบุรี-ปทุมธานี ปทุมธานีสายนอก)
  2. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 (ถนนรังสิต-ปทุมธานีและถนนปทุมธานี-บางเลน)
  3. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 (ถนนติวานนท์)
  4. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 (ถนนบางบัวทอง-บางคูวัด-บางพูน)
  5. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 (ถนนปทุมธานี-บางปะหันหรือถนนปทุมธานี-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร)
  6. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 (ถนนปทุมธานี-สามโคก-เสนา)
  7. ทางพิเศษอุดรรัถยา
  8. ถนนราชพฤกษ์

ถนนสายรอง

  1. ถนนปทุมธานีสายใน
  2. ถนนปทุมสัมพันธ์

อ้างอิง[แก้]

  1.  “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พุทธศักราช ๒๔๗๙” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา53 (0 ก): 828–831. 29 พฤศจิกายน 2479.
  2.  “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในจังหวัดต่าง ๆ” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา64 (42 ง): 2366–2368. 9 กันยายน 2490.
  3.  “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลบางหลวง จังหวัดปทุมธานี” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา79 (58 ง): 1447–1448. 26 มิถุนายน 2505.
  4.  “พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๒๔” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา98 (43 ก): (ฉบับพิเศษ) 9-13. 19 มีนาคม 2524.
  5.  “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลบางกระดี อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๔๖” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา120 (108 ก): 28–31. 31 ตุลาคม 2546.
  6.  “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นเทศบาลตำบลบ้านใหม่” (PDF)ราชกิจจานุเบกษา128 (พิเศษ 118 ง): 28. 7 ตุลาคม 2554

ตำบลบางกะดี แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลบางขะแยง แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลบางคูวัด หลังคากันสาด โปร่งแสง 

ตำบลบางปรอก หลังคา พียู โฟม

ตำบลบางพูด แพนเนล พียู ทำฝ้า-เพดาน ทำฝาผนัง-พาร์ติชั่น

ตำบลบางพูน หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ตำบลบางหลวง แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลบางเดื่อ แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลบ้านกระแชง หลังคากันสาด โปร่งแสง 

ตำบลบ้านกลาง หลังคา พียู โฟม