Category Archives: อำเภอคลองหลวง

อำเภอคลองหลวง

อำเภอคลองหลวง   is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the keyword name in category.

อำเภอคลองหลวง  บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

อำเภอคลองหลวง
แผนที่จังหวัดปทุมธานี เน้นอำเภอคลองหลวง
คำขวัญ: คลองขุดพระราชทาน งามตระการบัวหลวง โชติช่วงด้านการศึกษา แหล่งการค้าอุตสาหกรรม เด่นล้ำถิ่นอาศัย เมืองน้ำใจใฝ่คุณธรรม
พิกัดภูมิศาสตร์: 14°3′54″N 100°38′46″E
อักษรไทย อำเภอคลองหลวง
อักษรโรมัน Amphoe Khlong Luang
จังหวัด ปทุมธานี
พื้นที่
 • ทั้งหมด 299.152 ตร.กม. (115.503 ตร.ไมล์)
ประชากร (2562)
 • ทั้งหมด 284,647
 • ความหนาแน่น 951.51 คน/ตร.กม. (2,464.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 12120,
12110 (ตำบลคลองห้า หมู่ที่ 1 เฉพาะเลขที่ 38 และสถานบำบัดหญิงธัญบุรี; ตำบลคลองหก เฉพาะมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี),
13180 (ตำบลคลองหนึ่ง หมู่ที่ 20 เฉพาะเลขที่ 1-99 และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์)
รหัสภูมิศาสตร์ 1302
ที่อยู่
ที่ว่าการ
ที่ว่าการอำเภอคลองหลวง เลขที่ 33 หมู่ที่ 7 ตำบลคลองสอง อำเภอ
คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

คลองหลวง เป็นอำเภอที่สำคัญอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี เพราะเป็นที่ตั้งขององค์กรสำคัญหลายแห่ง และเป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุด รวมถึงมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองของจังหวัด รองจาก อำเภอหนองเสือ อำเภอคลองหลวง เป็นอำเภอเดียวของจังหวัดปทุมธานีที่ไม่มีเทศบาลตำบล

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ประวัติ[แก้]

ท้องที่อำเภอคลองหลวง แต่เดิมเป็นที่รกร้างว่างเปล่า เรียกว่า ทุ่งหลวง ต่อมา พ.ศ. 2446 บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม ได้ขุดคลองรังสิต และคลองซอยต่าง ๆ ราษฎรจึงพากันอพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐาน ประกอบอาชีพในการทำนา ในที่สุดได้ตั้งขึ้นเป็นอำเภอ เมื่อ พ.ศ. 2447

  • วันที่ 8 พฤศจิกายน 2499 จัดตั้งสุขาภิบาลคลองหลวง ในท้องที่บางส่วนของตำบลคลองหนึ่ง และ บางส่วนของตำบลคลองสอง [1]
  • วันที่ 4 ธันวาคม 2516 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลคลองหลวง ให้ครอบคลุมทั้งหมดของตำบลคลองหนึ่ง และ ตำบลคลองสอง [2]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2527 ตั้งตำบลคลองเจ็ด แยกออกจากตำบลคลองหก [3]
  • วันที่ 22 กรกฎาคม 2539 จัดตั้งเทศบาลตำบลท่าโขลง โดยยกฐานะจากสุขาภิบาลคลองหลวง ในพื้นที่บางส่วนตำบลคลองหนึ่ง และ ตำบลคลองสอง (ฝั่งทางตอนเหนือของ ถนนคลองหลวง) [4]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลคลองหลวง เป็น เทศบาลตำบลคลองหลวง
  • วันที่ 10 ตุลาคม 2544 ยกฐานะจากเทศบาลตำบลท่าโขลง เป็น เทศบาลเมืองท่าโขลง [5]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอคลองหลวงแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ตำบล แต่ละตำบลแบ่งเป็น หมู่บ้าน รวม 106 หมู่บ้าน ได้แก่

1. คลองหนึ่ง (Khlong Nueng) เดิมชื่อตำบลท่าโขลง มี 20 หมู่บ้าน
2. คลองสอง (Khlong Song) เดิมชื่อตำบลบางหวาย มี 15 หมู่บ้าน
3. คลองสาม (Khlong Sam) เดิมชื่อตำบลบึงอ้ายเสียบ มี 16 หมู่บ้าน
4. คลองสี่ (Khlong Si) เดิมชื่อตำบลบึงเขาย้อน มี 16 หมู่บ้าน
5. คลองห้า (Khlong Ha) เดิมชื่อตำบลบึงจระเข้ มี 16 หมู่บ้าน
6. คลองหก (Khlong Hok) เดิมชื่อตำบลบึงตะเคียน มี 14 หมู่บ้าน
7. คลองเจ็ด (Khlong Chet) แยกจากตำบลคลองหก มี 9 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

ท้องที่อำเภอคลองหลวงมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลเมืองท่าโขลง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองหนึ่งและตำบลคลองสอง เฉพาะฟากเหนือของถนนคลองหลวง (ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3214)
  • เทศบาลเมืองคลองหลวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองหนึ่งและตำบลคลองสอง เฉพาะฟากใต้ของถนนคลองหลวง (ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3214)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสาม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองสามทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสี่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองสี่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองห้า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองห้าทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองหกทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคลองเจ็ด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองเจ็ดทั้งตำบล

การคมนาคม[แก้]

อำเภอคลองหลวงมีถนนพหลโยธิน (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1) ตัดผ่าน อันเป็นทางสำคัญในการเดินทางไปยังภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนถนนสายสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9) ถนนลำลูกกา-วังน้อย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 352) ถนนคลองหลวง (ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3214) ถนนสายรองที่สำคัญ ได้แก่ ถนนเลียบคลองสาม ถนนเลียบคลองห้า

รถประจำทาง[แก้]

  • รถประจำทาง ขสมก. สาย 29 ม.ธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต)-หัวลำโพง (รถปรับอากาศ)
  • รถประจำทาง ขสมก. สาย 39 ตลาดไท-อนุสาวรีย์ชัยฯ (รถปรับอากาศ)
  • รถประจำทาง ขสมก. สาย 510 ม.ธรรมศาสตร์-อนุสาวรีย์ชัยฯ (รถปรับอากาศ)
  • รถประจำทาง ขสมก. สาย 520 ตลาดไท-แฮปปี้แลนด์-เดอะมอลล์บางกะปิ (รถปรับอากาศ)
  • รถประจำทางสาย 187 ท่าน้ำสี่พระยา-รังสิตคลองสาม (รถปรับอากาศ)
  • รถตู้โดยสาร ท่ารถตู้ต่างจังหวัด(ฝั่งตรงข้ามฟิวเจอร์พาร์ครังสิต-รังสิตคลองสาม) (รถปรับอากาศ)
  • รถประจำทางสาย 338 รังสิต-ประตูน้ำพระอินทร์ (รถปรัปอากาศ)
  • รถประจำทางสาย 1008 รังสิต-หนองเสือ

สถานที่สำคัญ[แก้]

อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ตำบลคลองสอง หลังคา พียู โฟม

ตำบลคลองสาม แพนเนล พียู ทำฝ้า-เพดาน ทำฝาผนัง-พาร์ติชั่น

ตำบลคลองสี่ หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ตำบลคลองหก หลังคา พียู ลายไม้

ตำบลคลองหนึ่ง แผ่นใส สีขาวขุ่น 

 ตำบลคลองห้า แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลคลองเจ็ด หลังคากันสาด โปร่งแสง