Category Archives: สะพานพระเจ้าตากสิน

สะพาน พระเจ้าตากสิน

สะพาน พระเจ้าตากสิน is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search  by address the focus keyword name in category.

สะพาน พระเจ้าตากสิน (King Taksin Bridge)  is connected  เขตคลองสาน (Khlong San District) and เขตสาทร (Sathon District).

เขตสาทร (Sathon District) is one of 50 districts of Bangkok, Thailand.

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Taksinbridge river.JPG

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เส้นทาง ถนนสาทรเหนือถนนสาทรใต้ถนนกรุงธนบุรี
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
ข้าม แม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้ง เขตสาทรเขตบางรักเขตคลองสาน
ชื่อทางการ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เจ้าของ กรมทางหลวงชนบท
เหนือน้ำ สะพานพระปกเกล้า
ท้ายน้ำ สะพานพระราม 3
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภท สะพานชนิดต่อเนื่อง
วัสดุ คอนกรีตอัดแรง
ความยาว 224.00 เมตร
ความกว้าง 12.85 เมตร
ความสูง 12.00 เมตร
ช่วงยาวที่สุด 92.00 เมตร
จำนวนช่วง 3
ประวัติศาสตร์
วันเริ่มสร้าง 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522
วันสร้างเสร็จ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2525
วันเปิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2525

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือที่รู้จักในนาม สะพานสาทร เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสาทร (เขตสาทรและเขตบางรัก) กับถนนกรุงธนบุรี (เขตคลองสาน)

เป็นสะพานคู่แยกขาเข้า-ขาออก และเว้นเนื้อที่ระหว่างสะพานไว้เผื่อสร้างระบบขนส่งมวลชนอื่น โดยปัจจุบัน พื้นที่ระหว่างสะพานเป็นรางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีลม และพื้นที่ในฝั่งพระนครยังเป็นที่ตั้งของสถานีสะพานตากสินอีกด้วย

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นที่รู้กันของชาวกรุงเทพฯ ว่าประสบปัญหาการจราจรอย่างหนัก โดยเฉพาะขาเข้าฝั่งพระนคร เนื่องจากปริมาณรถมาก

และเชิงสะพานฝั่งพระนครมีสัญญาณไฟจราจร จึงเป็นการปิดกั้นกระแสรถจากฝั่งธนบุรีซึ่งมีปริมาณมากให้ไหลไปได้ช้า โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนที่มีปริมาณรถมากเป็นพิเศษ

นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนตั้งอยู่ปลายสะพานทางฝั่งพระนครซึ่งในช่วงเวลาเช้าจะมีผู้ปกครองจอดรถเพื่อส่งเด็กนักเรียนเป็นจำนวนมาก และใช้เวลานานมาก ซึ่งเป็นที่มาส่วนหนึ่งของการจราจรที่ติดขัดเป็นพิเศษ[1]

เอ็มเค เมทัลชีท

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

เขตสาทร
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสาทร
คำขวัญ: สำเภาทองล้ำค่า สุสานสวนป่าร่มเย็น
เน้นนโยบายเมืองน่าอยู่ สถาบันให้ความรู้มากมี จุดรวมสถานที่แหล่งทูต
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°42′29″N 100°31′35″E
อักษรไทย เขตสาทร
อักษรโรมัน Khet Sathon
พื้นที่
 • ทั้งหมด 9.326 ตร.กม. (3.601 ตร.ไมล์)
ประชากร (2561)
 • ทั้งหมด 78,860[1]
 • ความหนาแน่น 8,455.92 คน/ตร.กม. (21,900.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 10120
รหัสภูมิศาสตร์ 1028
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 59 ซอยจันทน์ 18/7 แยก 1 (หน้าเขต) ถนนจันทน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
เว็บไซต์ http://www.bangkok.go.th/sathon
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตสาทร เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร มีอาคารสำนักงานที่ตั้งธุรกิจและสถานทูตจำนวนมาก

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางรักและเขตปทุมวัน มีคลองสาทรและถนนพระรามที่ 4 ฝั่งใต้เป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองเตยและเขตยานนาวา มีแนวทางรถไฟแม่น้ำ ซอยเชื้อเพลิง 4 (ศรีรุ้ง) และถนนเย็นอากาศเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตยานนาวาและเขตบางคอแหลม มีถนนนางลิ้นจี่ ถนนจันทน์เก่า คลองช่องนนทรี ถนนจันทน์ ถนนสาธุประดิษฐ์ ซอยสาธุประดิษฐ์ 12 (ทวีสิทธิ์) ซอยจันทน์ 43 แยก 33 ซอยจันทน์ 43 (วัดไผ่เงิน) ซอยจันทน์ 43 แยก 14 (อยู่ดี) ซอยเจริญราษฎร์ 5 (อยู่ดี) ซอยเจริญราษฎร์ 8 (อยู่ดี) คูน้ำข้างซอยจันทน์ 34/2 และจันทน์ 49 และคลองกรวยเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตคลองสาน มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติศาสตร์[แก้]

พื้นที่เขตสาทรเดิมขึ้นอยู่กับอำเภอบ้านทะวาย จังหวัดพระประแดง ต่อมาอำเภอบ้านทะวายย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอยานนาวาและเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา

ภายหลังพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กรุงเทพมหานครจึงได้รวมแขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆให้อยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตยานนาวา สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และท้องที่ดังกล่าวได้ยกฐานะเป็น เขตสาธร ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตยานนาวา ตั้งเขตสาธรและเขตบางคอแหลม โดยนำชื่อคลองและถนนสาธรมาตั้งเป็นชื่อของเขตโดยอนุโลม

ต่อมาในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2542 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงชื่อ “เขตสาธร” เป็น เขตสาทร เนื่องจากคำว่าสาธรไม่มีความหมายในพจนานุกรม ส่วนคำว่าสาทรมีความหมายว่า เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ “หลวงสาทรราชายุตก์ (ยม)” ขุนนางและคหบดีในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นผู้ขุดคลองอันเป็นที่มาของชื่อเขต ดังนั้นชื่อเขตสาธร คลองสาธร ถนนสาธรเหนือ ถนนสาธรใต้ และซอยย่อยของถนนสาธร จึงต้องเขียนเป็น “สาทร” ทั้งหมด[2]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตสาทรแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
แขวงทุ่งวัดดอน Thung Wat Don
3.195
38,841
17,785
12,156.80
แขวงยานนาวา Yan Nawa
2.090
20,463
10,489
9,790.90
แขวงทุ่งมหาเมฆ Thung Maha Mek
4.041
19,556
13,981
4,839.39
ทั้งหมด
9.326
78,860
42,255
8,455.92

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ถนนสาทรใต้ด้านหน้าโบสถ์เซนต์หลุยส์ เห็นเสาตอม่อและทางวิ่งของรถไฟฟ้าบีทีเอส โดยมีตึกมหานครอยู่ด้านหลัง

ในพื้นที่เขตสาทรมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรอง ได้แก่

และยังมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 1 แห่ง คือ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน

สถานที่สำคัญ[แก้]

เอ็มไพร์ ทาวเวอร์

สถานที่ท่องเที่ยว[แก้]

สถานทูต[แก้]

อาคารสำนักงาน[แก้]

ไทย ซีซี

  • เอ็มไพร์ ทาวเวอร์
  • แอทสาทร สแควร์
  • เอไอเอ ทาวเวอร์ สาทร
  • สาทธร ซิตี้ ทาวเวอร์
  • ไทย ซีซี
  • ตึกหุ่นยนต์

สถาบันทางการศึกษา[แก้]

สถานพยาบาล[แก้]