Category Archives: แยกพาณิชยการธนบุรี
แยกพาณิชยการธนบุรี
แยกพาณิชยการธนบุรี is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the focus keyword name in category.
แยกพาณิชยการธนบุรี Phanitchayakan Thon Buri Junction is หรือที่นิยมเรียกว่า แยกพาณิชย์ธนฯ และ แยกจรัญสนิทวงศ์ 13เป็นสามแยกปากทางถนนพาณิชยการธนบุรี (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13 เดิม) บรรจบถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
แยกพาณิชยการธนบุรี
ชื่ออักษรไทย | พาณิชยการธนบุรี |
---|---|
ชื่ออักษรโรมัน | Phanitchayakan Thon Buri |
รหัสทางแยก | N040 (ESRI), 250 (กทม.) |
ที่ตั้ง | แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่กรุงเทพมหานคร |
ทิศทางการจราจร | |
ถนนจรัญสนิทวงศ์ » แยกไฟฉาย |
|
ถนนจรัญสนิทวงศ์ » แยกท่าพระ |
|
ถนนพาณิชยการธนบุรี » ทางแยกต่างระดับบางแวก ถนนราชพฤกษ์ |
|
แยกพาณิชยการธนบุรี (อังกฤษ: Phanitchayakan Thon Buri Junction) หรือที่นิยมเรียกว่า แยกพาณิชย์ธนฯ และ แยกจรัญสนิทวงศ์ 13 เป็นสามแยกปากทางถนนพาณิชยการธนบุรี (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13 เดิม) บรรจบถนนจรัญสนิทวงศ์ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรีและวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ทั้งยังสามารถใช้เป็นเส้นทางลัดจากถนนจรัญสนิทวงศ์เชื่อมต่อไปยังถนนบางแวก ออกสู่ถนนราชพฤกษ์ในพื้นที่เขตภาษีเจริญและถนนกาญจนาภิเษกในพื้นที่เขตบางแคได้
โดยมีรถสองแถวให้บริการจากปากทาง นอกจากนี้บริเวณแยกยังเป็นจุดเริ่มต้นของรถโดยสารสี่ล้อเล็กและรถสามล้อสองแถวที่ให้บริการในเส้นทางจรัญฯ 13-แยกไฟฉาย-พรานนก-ท่าน้ำศิริราช
เอ็มเค เมทัลชีท
เขตบางกอกใหญ่
เขตบางกอกใหญ่
|
|
---|---|
คำขวัญ: บางกอกใหญ่เมืองหลวงไทยในอดีต ป้อมวิไชยประสิทธิ์พระราชวังเดิม เฉลิมพระนามพระเจ้ากรุงธน งามน่ายลพระปรางค์วัดอรุณ เทิดพุทธคุณหลวงพ่อเกษร นามขจรสมเด็จวัดพลับ เลิศกิตติศัพท์หลวงปู่โต๊ะวัดประดู่ งามน่าดูสองฝั่งคลองบางหลวง | |
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°43′22″N 100°28′35″E | |
อักษรไทย | เขตบางกอกใหญ่ |
อักษรโรมัน | Khet Bangkok Yai |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 6.18 ตร.กม. (2.39 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561) | |
• ทั้งหมด | 67,211[1] |
• ความหนาแน่น | 10,875.56 คน/ตร.กม. (28,167.6 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 10600 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 1016 |
ที่อยู่ สำนักงาน |
เลขที่ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 |
เว็บไซต์ | http://www.bangkok.go.th/bangkokyai |
เขตบางกอกใหญ่ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู๋ริมฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตตลิ่งชันและเขตบางกอกน้อย มีคลองมอญเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตพระนครและเขตธนบุรี มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตธนบุรี มีคลองบางกอกใหญ่และคลองบางหลวงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตภาษีเจริญ มีคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
ชื่อของเขตบางกอกใหญ่นั้น มีที่มาจากคลองบางกอกใหญ่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คลองบางหลวง ซึ่งเคยเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม แต่เปลี่ยนเส้นทางกลายเป็นคลองในปี พ.ศ. 2095 เขตบางกอกใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของกรุงธนบุรี เมื่อแรกเริ่มใน ปี พ.ศ. 2458 ได้ถูกเรียกว่า อำเภอหงสาราม ปีต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบางกอกใหญ่ ในปี พ.ศ. 2481 อำเภอบางกอกใหญ่ถูกยุบลงเป็น กิ่งอำเภอบางกอกใหญ่ ขึ้นกับ อำเภอบางยี่ขัน จนในปี พ.ศ. 2501 มีพระราชกฤษฎีกาตั้งกิ่งอำเภอบางกอกใหญ่ เป็น อำเภอบางกอกใหญ่ และในปี พ.ศ. 2515 มีประกาศคณะปฏิวัติ ให้อำเภอในเขตนครหลวงกรุงเทพธนบุรีมีฐานะเป็นเขต อำเภอบางกอกใหญ่จึงมีฐานะเป็น เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่นั้น
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตบางกอกใหญ่แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
วัดอรุณ | Wat Arun |
0.834
|
14,100
|
4,163
|
16,906.47
|
วัดท่าพระ | Wat Tha Phra |
5.346
|
53,111
|
26,703
|
9,934.71
|
ทั้งหมด |
6.180
|
67,211
|
30,866
|
10,875.56
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตบางกอกใหญ่[2] |
---|
การคมนาคม[แก้]
ทางน้ำ[แก้]
- แม่น้ำเจ้าพระยา
- คลองบางกอกใหญ่
- คลองมอญ
สถานที่สำคัญ[แก้]
- วัดอรุณราชวราราม
- พระราชวังเดิม
- วัดหงส์รัตนาราม
- วัดเครือวัลย์วรวิหาร
- วัดโมลีโลกยาราม
- วัดราชสิทธาราม
- วัดใหม่พิเรนทร์
- วัดนาคกลาง
- วัดท่าพระ
- วัดสังข์กระจาย
- วัดไชยฉิมพลี
- วัดประดู่ฉิมพลี
- พระราชวังเดิม
- สี่แยกท่าพระ
- โรงเรียนทวีธาภิเศก
- โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
- สามแยกพาณิชยการธนบุรี
- วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี
- วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
- โรงเรียนวิบูลย์เสรีวิทยา
- โรงเรียนสายประสิทธิ์วิทยา
- หอประชุมกองทัพเรือ
- กองบัญชาการกองทัพเรือ